เป้าหมายการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
- เข้าใจเนื้อหาที่เป็นพื้นฐาน เพื่อเรียนรู้วิชาอื่น เช่น
วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ พันธุกรรมศาสตร์ อย่างเช่น ความน่าจะเป็นมาใช้ในการวิเคราะห์ศึกษาพันธุกรรมของเมล็ดถั่ว ในทางชีววิทยาใช้เลขยกกาลังในการกำหนดหน่วยความยาวของดีเอ็นเอ (DNA) อัตราส่วนและยกกาลังไปใช้ในการหาดัชนี มวลกายของคน เพื่อวิเคราะห์และศึกษาภาวการณ์สะสมไขมันตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย การแปรเปลี่ยนของอุณหภูมิ แผนที่ทางอากาศบอกช่วงเวลา
เศรษฐศาสตร์ อย่างเช่น วิธีการอ่านกราฟและฟังก์ชัน การหาดุลยภาพและการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของตลาด เรียนรู้วิธีการตัดสินใจที่เหมาะสมที่สุดของผู้บริโภคและผู้ผลิต
การงานอาชีพ ศิลปะ อย่างเช่น อัตราส่วนการปรุงอาหาร การประกอบอาชีพ การออกแบบ การใช้เทคโนโลยี การสื่อสาร การเขียนโปรแกรมฯ การประมาณขนาดรูปร่างในการวาดภาพ มองโครงสร้างโมเดลจำลองในการสร้างประติมากรรม การเปรียบเทียบขนาดรูปร่างทางเรขาคณิต(พื้นที่ / ปริมาตร)
สังคม ประวัติศาสตร์ อย่างเช่น การบอกเวลา ระยะทาง บอกค่าเงิน(การแปลงค่าเงิน / การซื้อขายแลกเปลี่ยน) การคำนวณปีจากอดีต-ปัจจุบัน(พ.ศ. / ค.ศ.) ลักษณะทางภูมิศาสตร์ การออกแบบภูมิปัญญา(ปัญญาประดิษฐ์) การคำนวณความกว้างของแม่น้ำ การสร้างที่อยู่อาศัย ฤดูกาล
สุขศึกษา พลศึกษา อย่างเช่น การคำนวณค่าดัชนีมวลร่างกาย(BMI) การบอกค่าพลังงานจากสารอาหาร การวัดขนาดร่างกาย (น้ำหนัก / ส่วนสูง) การนับการเต้นของหัวใจ
- พัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา การมองเห็นรูปแบบ (Pattern) การสร้างภาพในสมอง การให้เหตุผล การสื่อสาร เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาด้วยวิธีที่หลากหลาย
Mind mapping (สาระการเรียนรู้)
ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตสาสตร์ หน่วย : จำนวนหรรษา 3
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 (Quarter 3) ปีการศึกษา 2559
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
(5 ชั่วโมง/สัปดาห์)
|
โจทย์
ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ที่ผ่านมา
คำถาม
นักเรียนคิดว่าตัวเลขเกี่ยวข้อง
สัมพันธ์กับชีวิตประจำวันอย่างไร ?
เครื่องมือคิด
- Barnstorms
- Blackboard Share
- Think Par Share
- Round Rubin
- Show and Share
-
Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บัตรภาพ /บัตรจำนวนตัวเลข
|
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ที่ผ่านมาร่วมกัน
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “ใน Quarter ที่ผ่านมาได้เรียนรู้อะไรไปบ้าง
”
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนรู้และเข้าใจเรื่องอะไรบ้างในวิชาคณิตศาสตร์
และอยากเพิ่มเติมเรื่องอะไรบ้าง ”
ถ้านำมารวมกันทั้งห้องจะมีจำนวนเมล็ดพันธุ์เท่าไร ของใคร
- ครูและนักเรียนร่วมกันเล่นเกม “อีตัก”เพื่อทบทวนเรื่องจำนวนและการดำเนินการ
- ครูและนักเรียนร่วมกันพูดคุยเกี่ยวกับกิจกรรมที่ทำ
-
นักเรียนสรุปความเข้าใจก่อนเรียน Q.3/59
|
ภาระงาน
-พูดคุยแสดงความคิดเห็นในการทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ที่ผ่านมาร่วมกัน
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
ชิ้นงาน
สรุปความเข้าใจก่อนเรียน
|
ความรู้
สามารถปรับตัวในการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่
1
และเข้าใจค่าของจำนวนตัวเลข
ทักษะ
-
การแก้ปัญหาและการให้เหตุผล
-
ความรู้สึกเชิงจำนวน
- การคิดสร้างสรรค์
-
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับชีวิตประจำวัน
- การทำงานร่วมกับผู้อื่น
- การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนำเสนอ
คุณลักษณะ
- มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ
แบ่งปัน
|
มาตรฐาน
ค 1.1
เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง
-
ป.1/1 เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทยแสดงปริมาณของสิ่งของหรือจำนวนนับที่ไม่เกินหนึ่งร้อยและศูนย์
-
ป.1/2 เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกินหนึ่งร้อยและศูนย์
มาตรฐาน
ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการของจำนวนและความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินการต่าง
ๆ และสามารถใช้การดำเนินการในการแก้ปัญหา
- ป.1/1 บวก ลบ และบวก
ลบระคนของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งร้อยและศูนย์
พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล
การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
- ป.1/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
- ป.1/2 ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ใน การแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
- ป.1/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
- ป.1/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร
การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
- ป.1/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
- ป.1/6 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
2
(5 ชั่วโมง/สัปดาห์)
|
โจทย์
จำนวนและการดำเนินการ
การบวกและการลบ
คำถาม
นักเรียนมีวิธีการคิดหาคำตอบอย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Blackboard Share
- Think Pare Share
- Round Rubin
- Show and Share
-
Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-
แผ่นภาพ
|
-
ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูเล่านิทานเรื่อง “จำนวนหรรษา”
- ครูให้โจทย์บนกระดาน อย่างเช่น
ภาพสี่เหลี่ยมสี่แดง เท่ากับ 20
วงกลมสีส้ม เท่ากับ 12 สามเหลี่ยมสีน้ำตาล
เท่ากับ 15 ฯลฯ ครูนำภาพที่กำหนดให้มาสร้างรูปหนึ่งรูปและนำจำนวนของรูปนั้นมารวมกัน
- ครูให้นักเรียนกำหนดรูปทรงและจำนวนเอง
- ให้โจทย์บนกระดาน
แล้วให้นักเรียนอาสาออกมาแสดงวิธีคิดหาคำตอบ
|
ภาระงาน
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- พุดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- บันทึกเล่มเล็ก
- ใบงาน
|
ความรู้
เข้าใจเกี่ยวกับค่าของจำนวนและสามารถดำเนินการทางตัวเลขในการบวกและการลบได้
ทักษะ
-
การแก้ปัญหาและการให้เหตุผล
-
การดำเนินการทางตัวเลข
- การคิดสร้างสรรค์
-
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์
- การทำงานร่วมกับผู้อื่น
- การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนำเสนอ
คุณลักษณะ
- มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ
แบ่งปัน
|
มาตรฐาน
ค 1.1
เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง
-
ป.1/2 เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกินหนึ่งร้อยและศูนย์
มาตรฐาน
ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการของจำนวนและความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินการต่าง
ๆ และสามารถใช้การดำเนินการในการแก้ปัญหา
- ป.1/1 บวก ลบ และบวก ลบระคนของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งร้อยและศูนย์
พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
- ป.1/3 ใช้การประมาณค่าในการคำนวณและแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล
การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
- ป.1/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
- ป.1/2 ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ใน การแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
- ป.1/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
- ป.1/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร
การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
- ป.1/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
- ป.1/6 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
3-4
(5 ชั่วโมง/สัปดาห์)
|
โจทย์
การวัดความยาว(หน่วยไม่มาตรฐาน
เช่น คืบ วา ศอก)
- การบวก การลบ
คำถาม
ถ้าเราต้องการรู้ความยาวของสิ่งต่างๆ
เราจะมีวิธีการอย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Blackboard Share
- Think Pare Share
- Round Rubin
- Show and Share
-
Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-นิทาน
|
-
ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูให้นักเรียนแต่ละคนใช้ดินสอของตนวัดความยาวของโต๊ะนักเรียนว่า
มีความยาวเท่ากับดินสอกี่แท่ง ซึ่งแต่ละคนได้ความยาวไม่เท่ากัน
เพราะดินสอของแต่ละคนยาวไม่เท่ากัน
- ครูแจกดินสอให้ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่ม นำไปวัดโต๊ะของตนโดยให้เพื่อนๆ คอยสังเกต เมื่อวัดเสร็จให้นักเรียนบอกว่าได้ความยาวเท่าไร โดยครั้งนี้จะได้ความยาวเท่ากันหรือไม่ เพราะอะไร - ครูให้นักเรียน |
ภาระงาน
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ทำ
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค่าของจำนวนและการดำเนินการทางตัวเลข บวก ลบ
-
พุดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- บันทึกเล่มเล็ก
- ใบงาน
|
ความรู้
เข้าใจการวัดความยาวโดยใช้เครื่องวัดที่มีหน่วยไม่ใช่หน่วยมาตรฐานและบอกความยาวได้
ทักษะ
-
การแก้ปัญหาและการให้เหตุผล
-
ความรู้สึกเชิงจำนวน
- การคิดสร้างสรรค์
-
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์
- การทำงานร่วมกับผู้อื่น
- การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนำเสนอ
คุณลักษณะ
- มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ
แบ่งปัน
|
มาตรฐาน
ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด
วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
-ป.1/5 บอกความยาว
น้ำหนัก ปริมาตร และความจุโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
-ป.1/6 บอกช่วงเวลา จำนวนวัน
และชื่อวันในสัปดาห์
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล
การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
- ป.1/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
- ป.1/2 ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ใน การแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
- ป.1/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
- ป.1/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร
การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
- ป.1/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
- ป.1/6 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
5-6
(5 ชั่วโมง/สัปดาห์)
|
โจทย์
การชั่งและการตวง
(โดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน)
- การเปรียบเทียบน้ำหนัก (หนักกว่า เบากว่า หนักเท่ากัน)
คำถาม
นักเรียนจะรู้ได้อย่างไรว่าสิ่งของสองอย่างมีน้ำหนักเท่ากัน
หรือเบากว่า อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Blackboard Share
- Think Pare Share
- Round Rubin
- Show and Share
-
Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-
เกม
-
บัตรภาพ
|
-
ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
-ครูสาธิตการชั่งสิ่งของโดยใช้เครื่องชั่งสองแขน
เริ่มจากวางสิ่งของลงที่ปลายแขนของเครื่องชั่งทั้งสองข้าง
ให้นักเรียนช่วยกันสังเกต
-ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ทดลองชั่งน้ำหนักโดย ให้นักเรียนเลือกสิ่งของที่นำมาใช้เป็นหน่วยวัดไม่มาตรฐาน เช่น ฝาน้ำอัดลม ยางลบ ที่ยังไม่ได้ใช้ ลูกแก้ว เหรียญสิบบาท
- นักเรียนบันทึกผลการทดลอง
แล้วออกมานำเสนอผลการทดลอง
- ครูทบทวนการชั่งโดยใช้เครื่องชั่งสองแขน
- ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ชั่งสิ่งของที่กำหนดให้โดยใช้เครื่องชั่งสองแขน และมีฝาขวดน้ำอัดลมเป็นหน่วยกลางให้ แล้วบันทึกน้ำหนักที่ชั่งได้ลงในสมุด
- ครูให้นักเรียนคาดคะเนเปรียบเทียบน้ำหนัก
โดยการสังเกตด้วยสายตาว่า สิ่งของชิ้นใดหนักกว่า หรือสิ่งของชิ้นใดเบากว่า โดยให้ทดลองกับสิ่งของหลายๆ
อย่าง เท่าที่จะหาได้ภายในห้องเรียน
|
ภาระงาน
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค่าของจำนวนตัวเลขและที่มา
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- พุดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
ใบงาน
|
ความรู้
เข้าใจการชั่งหาน้ำหนักของสิ่งของโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐานได้และเปรียบเทียบน้ำหนักของสิ่งของที่กำหนดให้ได้
ทักษะ
-
การแก้ปัญหาและการให้เหตุผล
-
ความรู้สึกเชิงจำนวน
- การคิดสร้างสรรค์
-
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์
- การทำงานร่วมกับผู้อื่น
- การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนำเสนอ
คุณลักษณะ
- มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
|
มาตรฐาน
ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด
วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
-ป.1/5 บอกความยาว
น้ำหนัก ปริมาตร และความจุโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
-ป.1/6 บอกช่วงเวลา จำนวนวัน
และชื่อวันในสัปดาห์
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล
การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
- ป.1/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
- ป.1/2 ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ใน การแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
- ป.1/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
- ป.1/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร
การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
- ป.1/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
- ป.1/6 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
7-8
(5 ชั่วโมง/สัปดาห์)
|
โจทย์
ช่วงเวลาในแต่ละวัน (กลางวัน กลางคืน เช้า สาย เที่ยง บ่าย เย็น)
คำถาม
เราจะสร้างโจทย์ปัญหาและวิธีคิดอย่างไรให้เข้าใจได้ง่ายในเรื่องการบวก
ลบ?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Blackboard Share
- Think Pare Share
- Round Rubin
- Show and Share
-
Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บัตรภาพ
- โจทย์ปัญหา
|
- ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูให้นักเรียนวาดรูปสิ่งที่นักเรียนเห็นบนท้องฟ้าในเวลากลางวันและกลางคืน
- ครูสนทนากับนักเรียนถึงภาพที่นักเรียนวาด - ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละเท่าๆ กัน โดยให้กลุ่มที่ 1 ช่วยกันวาดรูปเวลากลางวัน แล้วเขียนบรรยายภาพเกี่ยวกับความหมายของคำว่า กลางวัน ส่วนกลุ่มที่ 2 ช่วยกันวาดรูปเวลากลางคืน แล้วเขียนบรรยายเกี่ยวกับความหมายของคำว่า กลางคืน จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอผลงาน
- ครูให้นักเรียนจับคู่กันศึกษาความรู้
เรื่อง ช่วงเวลาในแต่ละวัน เพิ่มเติม
- ครูให้นักเรียนร้องเพลง
“Good morning to
you.”และสนทนากับนักเรียนถึงความหมายของเพลงว่า
เป็นการทักทายกันในตอนเช้า ซึ่งคำว่า Good morning แปลว่า
สวัสดีตอนเช้า
- ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับช่วงเวลาว่า
ในแต่ละวันเรายังแบ่งออกเป็นช่วงย่อยๆ อีก และเรียกชื่อช่วงเวลาเรียงลำดับ
ได้แก่ เช้า สาย เที่ยง บ่าย เย็น ค่ำ
จากนั้นครูอธิบายความหมายและกำหนดช่วงเวลาในแต่ละวัน พร้อมกับสนทนาถึงกิจกรรมที่นักเรียนทำในแต่ละช่วงเวลา
- ครูให้นักเรียนแบ่งออกเป็นกลุ่ม แล้วส่งตัวแทนออกมาจับฉลาก โดยครูเขียนฉลากคำว่า เช้า สาย เที่ยง บ่าย เย็น และค่ำ ลงในฉลากแต่ละใบ จากนั้นให้นักเรียนนำเสนอผ่านบทบาทสมมติ - ครูและนักเรียนเล่นเกมทายใจ |
ภาระงาน
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค่าของจำนวนตัวเลขและการบวก ลบ
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
-
พุดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- บันทึกเล่มเล็ก
- ใบงาน
|
ความรู้
เข้าใจและบอกได้ว่ากิจกรรมหรือเหตุการณ์ที่ทำเกิดขึ้นในช่วงเวลาใด
ทักษะ
-
การแก้ปัญหาและการให้เหตุผล
-
ความรู้สึกเชิงจำนวน
- การคิดสร้างสรรค์
-
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์
- การทำงานร่วมกับผู้อื่น
- การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนำเสนอ
คุณลักษณะ
- มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ
แบ่งปัน
|
มาตรฐาน
ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด
วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
-ป.1/5 บอกความยาว
น้ำหนัก ปริมาตร และความจุโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
-ป.1/6 บอกช่วงเวลา จำนวนวัน
และชื่อวันในสัปดาห์
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล
การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
- ป.1/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
- ป.1/2 ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ใน การแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
- ป.1/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
- ป.1/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร
การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
- ป.1/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
- ป.1/6 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
9
(5 ชั่วโมง/สัปดาห์)
|
โจทย์
เงิน
คำถาม
-ธนบัตรและเงินเหรียญแต่ละชนิดมีค่าเท่าไร นักเรียนทราบได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Blackboard Share
- Think Pare Share
- Round Rubin
- Show and Share
-
Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บัตรภาพ
- โจทย์ปัญหา
|
- ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
นักเรียนเกี่ยวกับการใช้เงินในชีวิตประจำวัน เงินเหรียญและธนบัตรที่นักเรียนรู้จัก
-ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด ธนบัตรชนิดใดบ้าง มีเงินเหรียญชนิดใดบ้าง ธนบัตรและเงินเหรียญแต่ละชนิดมีรูปร่าง ลักษณะ สี
ลวดลายที่เด่น
ข้อความและตัวเลขที่ปรากฏอย่างไร ธนบัตรและเงินเหรียญแต่ละชนิดมีค่าเท่าไร
นักเรียนทราบได้อย่างไร
-ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มรับเงินเหรียญจำลองและธนบัตรจำลอง จากนั้น
- ครูกำหนดจำนวนเงิน
ให้นักเรียนหยิบเงินเหรียญจำลองและธนบัตรจำลอง
- แต่ละกลุ่มจำแนกเงินเหรียญและธนบัตรที่หยิบว่ามีชนิดใดบ้าง แต่ละชนิดมีจำนวนเท่าไร ครูตรวจสอบความถูกต้อง
- ครูกำหนดจำนวนเงินเหรียญและจำนวนธนบัตรแล้วให้แต่ละกลุ่มช่วยกันบอกจำนวนเงินทั้งหมด
|
ภาระงาน
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค่าของจำนวนตัวเลขและการบวก ลบ
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
-
พุดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- บันทึกเล่มเล็ก
- ใบงาน
|
ความรู้
เข้าใจและรู้ค่าของเงินสามารถนำมาปรัใช้ในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ
-
การแก้ปัญหาและการให้เหตุผล
-
ความรู้สึกเชิงจำนวน
- การคิดสร้างสรรค์
-
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์
- การทำงานร่วมกับผู้อื่น
- การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนำเสนอ
คุณลักษณะ
- มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ
แบ่งปัน
|
มาตรฐาน
ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด
วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
-ป.1/5 บอกความยาว
น้ำหนัก ปริมาตร และความจุโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
-ป.1/6 บอกช่วงเวลา จำนวนวัน
และชื่อวันในสัปดาห์
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล
การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
- ป.1/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
- ป.1/2 ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ใน การแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
- ป.1/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
- ป.1/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร
การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
- ป.1/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
- ป.1/6 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
|
||||
10
(5 ชั่วโมง/สัปดาห์)
|
โจทย์
- สรุปองค์ความรู้
-ทบทวนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
คำถาม
-ในQuarter นี้นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ ?
- นักเรียนอยากเรียนรู้และพัฒนาเกี่ยวกับเรื่องอะไรคณิตศาสตร์ ?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Blackboard
Share
- Think
Pare Share
- Round
Rubin
- Show
and Share
- Wall
Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-กงล้อจำนวน
|
-ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
-ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้ง Quarter 2/59
-ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด“ในQuarterนักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ ?
-นักเรียนช่วยคิดช่วยบอกโดยครูเขียนบนกระดาน
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด“นักเรียนอยากเรียนรู้และพัฒนาเกี่ยวกับเรื่องอะไรคณิตศาสตร์ ?
-ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกันอีกครั้งใน Quarter 2/59
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค่าของจำนวน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
-
พุดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
สรุปองค์ความรู้
|
ความรู้
เข้าใจการดำเนินการทางตัวเลข
บวก ลบ ที่สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ
-
การแก้ปัญหาและการให้เหตุผล
-
ความรู้สึกเชิงจำนวน
- การคิดสร้างสรรค์
-
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์
- การทำงานร่วมกับผู้อื่น
- การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนำเสนอ
คุณลักษณะ
- มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ
แบ่งปัน
|
มาตรฐาน
ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการของจำนวนและความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินการต่าง
ๆ และสามารถใช้การดำเนินการในการแก้ปัญหา
- ป.1/1 บวก ลบ และบวก
ลบระคนของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งร้อยและศูนย์
พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
- ป.1/2 วิเคราะห์และหาคำตอบของโจทย์ปัญหาและโจทย์ปัญหาระคนของจำนวนนับไม่เกิน
หนึ่งร้อย และศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
- ป.1/3 ใช้การประมาณค่าในการคำนวณและแก้ปัญหา
- ป.1/4 เข้าใจระบบจำนวนและนำสมบัติเกี่ยวกับจำนวนไปใช้
มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์
และฟังก์ชัน
- ป.1/8
บอกจำนวนและความสัมพันธ์ในแบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 1 ทีละ 2 และลดลงทีละ1
- ป.1/9
บอกรูปและความสัมพันธ์ในแบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง ขนาด
หรือสีที่สัมพันธ์กันอย่างใดอย่างหนึ่ง
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล
การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
- ป.1/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
- ป.1/2 ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ใน การแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
- ป.1/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
- ป.1/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร
การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
- ป.1/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
- ป.1/6 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
|